PA Live Talk ศึกษานิเทศก์ ทำ PA อย่างไร

440 views • 7 เดือนที่แล้ว

Starfish Talk แบ่งปันไอเดีย สร้างห้องเรียนสมรรถนะตามเกณฑ์ วPA ในหัวข้อ “ศึกษานิเทศก์ ทำ PA อย่างไร” ในวันพุธที่ 27 มีนาคม 2567 เวลา 19.00-20.00 น.โดยมีแขกรับเชิญ ดังนี้

1. ดร.อนุศร หงษ์ขุนทด ศึกษานิเทศก์ วิทยฐานะ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม.นครราชสีมา

2. ศน.สมชื่อ กอปรคุณูปการ ศึกษานิเทศก์ วิทยฐานะศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ ข้าราชการบำนาญ อดีตศึกษานิเทศก์ สพป.นนทบุรี เขต 2

โดยมี นายตะวัน แสงทอง (ครูโทนี่) รองผู้อำนวยการโรงเรียนไทรโยคมณีกาญจน์วิทยา จังหวัดกาญจนบุรี เป็นผู้ดำเนินรายการ 

 ในบทความนี้ถอดองค์ความรู้ที่สำคัญสำหรับท่านศึกษานิเทศก์ ทำ PA อย่างไร ดังรายละเอียดต่อไปนี้ 

ศึกษานิเทศก์มีบทบาทในการพัฒนาการศึกษาอย่างไร 

  • วPA บอกบทบาทของศน. ได้อย่างครบถ้วน ทำให้เต็มตาม Performance Agreement 
  • การนิเทศและส่งเสริมการศึกษา พัฒนาตนเอง พัฒนาครู พัฒนาร่วมกัน 
  • จำเป็นต้องรู้กฎเกณฑ์ว9 และว10 

ความเชื่อมโยงระหว่างเกณฑ์ ว9 และว10 ด้านที่ 1

กล่องสีชมพู คือ ว11 เรามีหน้าที่อยู่ 8 ข้อ ด้านที่ 1 

กล่องสีฟ้า คือ ผู้บริหาร 

กล่องสีเขียว คือ ครู

ยกตัวอย่างเช่น ความสัมพันธ์ระหว่างศึกษานิเทศก์และผู้บริหาร 

ข้อที่ 1 ของศน. และผู้บริหารจะต้องไปคุยกับมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เพราะฉะนั้นต้องทำงานด้วยกัน 

ความสัมพันธ์ระหว่างศึกษานิเทศก์และครู เช่น ข้อที่ 2 3 4 5 6 7 8 ส่งผลต่อกระบวนการสอนของครูทั้ง 8 ตัวชี้วัด 

ตัวอย่างแผนการนิเทศในเขต สพม.ราชสีมา 

สรุปประเด็นในการนิเทศบูรณาการโดยใช้พื้นที่เป็นฐานปีงบประมาณ 2567 

ความเชื่อมโยงระหว่างเกณฑ์ ว9 และว10 ด้านที่ 2

ตัวอย่าง เช่น ข้อที่ 1 ส่งผลต่อ ข้อที่ 1 ของครู และถ้าผอ. ทำงานกับผู้บริหาร 

บทบาทที่แท้จริงของศึกษานิเทศก์

  • หลักการของเราคือ นิเทศก์การศึกษาที่มุ่งไปที่โรงเรียน และดูแลช่วยเหลือโรงเรียน แต่งานธุรการจะต้องมีเลขามาช่วยเหลือ การทำงานธุรการในงานเราก็มีความจำเป็น เพราะสุดท้ายผลลัพธ์ก็ลงไปที่ครูและนักเรียน 
  • ศึกษา และนิเทศ คือ หน้าที่ของเรา 

ความเข้มข้นของระดับการปฏิบัติที่คาดหวังของศึกษานิเทศก์ 

ระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง ไม่แตกต่างกับคุณครู แต่ต่างกันระดับปฏิบัติที่คาดหวัง เช่น ชำนาญการ คือ การแก้ไขปัญหา แต่บางคนสามารถไปทำ คิดค้นปรับเปลี่ยนไปได้เลย และระดับเชี่ยวชาญ จะต้องคิดค้นวิธีการนิเทศแบบใหม่ และยังไม่มี เช่น การนำเทคโนโลยีนำมาใช้ จะต้องวางแผนการนิเทศก่อนที่จะลงโรงเรียน การให้ครูสามารถค้นหาคู่มือการนิเทศต่างๆ ได้ ยกตัวอย่างเช่น รูปแบบการนิเทศประสานเวลา หมายถึง การนัดเจอและนั่งคุยกัน กับ ไม่ประสานเวลา คือ การอัดคลิปวิดีโอลงยูทูป

เวลาคิดกรอบงาน และหลักในการทำงาน 

  1. ต้องรู้จักคุณครู หรือโรงเรียนก่อนว่าเขามีปัญหาอะไร เราต้องช่วยในสิ่งที่เขามีปัญหา ไม่ใช่แค่ความสนใจของเรา
  2. ต้องคิดและไปให้ไกลกว่าสิ่งที่เราทำอยู่ อย่าอยู่แค่ชำนาญการ 
  3. ให้กลับไปมอง ว9 ของคุณครูใน 8 ตัวชี้วัด ไปดูว่าครูออกแบบการเรียนรู้หรือยัง และย้อนกลับมามองตัวเองในสิ่งที่เราต้องทำก่อน ออกแบบการนิเทศให้สอดคล้องกับสิ่งที่เราเจอ มีการติดตาม และประเมินผล 

การวางแผนนิเทศในสถานศึกษา โดยรูปแบบ NPIDEE Model 

  1. การค้นหาความต้องการ (N) การสะท้อนผล (R) 
  2. การวางแผนการนิเทศ (P)
  3. การให้ความรู้ในสิ่งที่จะนิเทศ (I)
  4. การดำเนินการนิเทศ (D)
  5. การเสริมพลัง (E)
  6. การประเมินผลการนิเทศ (E) 


  • สิ่งที่ครูอยากได้ คือ วิธีการสอน การวัดประเมิน การแก้ 0 มส. 
  • สิ่งที่ผู้บริหารอยากได้ คือ การโค้ช

เราจะเดินไปอย่างไร เพื่อการพัฒนาตนเองและโรงเรียน

  • เดินไปข้างหน้า ไม่มองข้างหลัง ให้ตั้งเป้าหมายให้ตัวเอง จะทำอะไร ทำอย่างไร หาแหล่งความรู้ หางานวิจัยที่โดดเด่น และเดินทางไปยังมหาวิทยาลัยที่นั่น เพื่อขอคำแนะนำ ปีที่ 2 ลง try out กับ 15 โรงเรียน มีการวางแผนให้ชัดเจน ถ้าไม่เสร็จไม่นอน 

1. เปลี่ยนงานให้เป็นงานวิจัย จะไม่ให้รู้สึกว่างานเยอะ 

2. หาพันธมิตรในการทำงานวิจัย 

3. หางานที่ไม่ใช่ของเรา สร้างมาตรฐานของตัวเอง 

4. จงฟังเสียงหัวใจ และความเติบโตของตนเอง เมื่อตัดสินใจเลือกแล้ว เราอย่าไปมองข้างหลัง เดินไปข้างหน้าเรื่อยๆ



วิดีโอใกล้เคียง

คลิปแรงบันดาลใจ ประตูสู่ความสำเร็จ วPA
01:18:20

คลิปแรงบันดาลใจ ประตูสู่ความสำเร็จ วPA

905 views • 8 เดือนที่แล้ว
คลิปแรงบันดาลใจ ประตูสู่ความสำเร็จ วPA
PA พลิกโฉมห้องเรียนแห่งอนาคต ด้วยการประเมินผู้เรียนที่ตรงจุด
01:01:51

PA พลิกโฉมห้องเรียนแห่งอนาคต ด้วยการประเมินผู้เรียนที่ตรงจุด

368 views • 2 เดือนที่แล้ว
PA พลิกโฉมห้องเรียนแห่งอนาคต ด้วยการประเมินผู้เรียนที่ตรงจุด
Starfish Talk วPA วงวิพากษ์แผน วPA คลินิกวิทยฐานะ
01:32:22
Starfish Academy

Starfish Talk วPA วงวิพากษ์แผน วPA คลินิกวิทยฐานะ

Starfish Academy
87 views • 6 วันที่แล้ว
Starfish Talk วPA วงวิพากษ์แผน วPA คลินิกวิทยฐานะ
Starfish Talk วPA    เส้นทางที่ท้าทาย แรงบันดาลใจสู่ครูเชี่ยวชาญ วPA
01:11:06

Starfish Talk วPA เส้นทางที่ท้าทาย แรงบันดาลใจสู่ครูเชี่ยวชาญ วPA

107 views • 1 เดือนที่แล้ว
Starfish Talk วPA เส้นทางที่ท้าทาย แรงบันดาลใจสู่ครูเชี่ยวชาญ วPA

มาร่วมเรียนรู้กับ Starfish Labz

แหล่งเรียนรู้และชุมชนออนไลน์เพื่อนักการศึกษาและผู้ปกครอง

ลงทะเบียน

คอร์สใกล้เคียง

เครืองมือครู
ด้านการสื่อสาร สารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ ด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม การบริหารจัดการตนเอง
basic
2:00 ชั่วโมง

เตรียมพร้อมก่อนทำคลิปประเมินวิทยฐานะ EP.1 วิธีการสอน

หลักสำคัญ ในการสอนที่มีประสิทธิภาพ 8 ข้อ ซึ่งจะใช้ในการประเมินคลิปการสอนของครู เป็นแนวทางใหม่ของการประเมินวิทยฐานะของครู

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
เตรียมพร้อมก่อนทำคลิปประเมินวิทยฐานะ EP.1 วิธีการสอน
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา

เตรียมพร้อมก่อนทำคลิปประเมินวิทยฐานะ EP.1 วิธีการสอน

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
3770 ผู้เรียน
การเรียนแบบบูรณาการ
ด้านการสื่อสาร สารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ ด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม ด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา
basic
2:00 ชั่วโมง

การสอนคณิตศาสตร์แบบ Active Learning เพื่อวิทยฐานะ (PA)

การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning เพื่อพัฒนาเทคนิคการสอนคณิตศาสตร์ และเพื่อเป็นแนวทางในการประเมินวิทยฐานะ (PA)

นายเชิดศักดิ์ ภักดีวิโรจน์
นายเชิดศักดิ์ ภักดีวิโรจน์
การสอนคณิตศาสตร์แบบ Active Learning เพื่อวิทยฐานะ (PA)
นายเชิดศักดิ์ ภักดีวิโรจน์

การสอนคณิตศาสตร์แบบ Active Learning เพื่อวิทยฐานะ (PA)

นายเชิดศักดิ์ ภักดีวิโรจน์
1048 ผู้เรียน
เครืองมือครู
การรู้จักตนเอง การบริหารจัดการตนเอง
basic
2:00 ชั่วโมง

การประเมินเพื่อขอ เลื่อนวิทยฐานะใหม่ “ตำแหน่งครู”

เรียนรู้ ทำความเข้าใจภาพรวมของการประเมินเพื่อขอมี / เลื่อนวิทยฐานะใหม่ “ตำแหน่งครู” (วPA)

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
การประเมินเพื่อขอ เลื่อนวิทยฐานะใหม่ “ตำแหน่งครู”
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา

การประเมินเพื่อขอ เลื่อนวิทยฐานะใหม่ “ตำแหน่งครู”

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
7049 ผู้เรียน
เครืองมือครู
ด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา
basic
2:00 ชั่วโมง

เตรียมพร้อมกับวิทยฐานะใหม่

หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่งวิทยฐานะครู (วPA) เพื่อการพัฒนาการศึกษาและความก้าวหน้าในวิชาชีพครู

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
เตรียมพร้อมกับวิทยฐานะใหม่
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา

เตรียมพร้อมกับวิทยฐานะใหม่

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
5861 ผู้เรียน