สร้างทักษะแห่งอนาคตด้วย Mekerspace
“If we teach today’s students as we taught yesterday, we rob them of tomorrow.” John Dewey หมายถึง ถ้าเราสอนนักเรียนในเรื่องที่เราสอนไปเมื่อวานเรากำลังปล้นวันเวลาแห่งอนาคตของนักเรียน
ประโยคข้างต้นต้องการที่จะสื่อสารโลกมีการเปลี่ยนแปลงไปผู้ใหญ่หรือคุณครูไม่สามารถที่จะสอนในสิ่งที่ผู้ใหญ่เคยรับรู้มาก่อนเพราะเด็กๆ ต้องเติบโตและใช้ชีวิตในโลกอนาคตแล้วเพราะฉะนั้นห้องเรียนจะต้องแตกต่างไปจากเดิม ซึ่งมีโรงเรียนในประเทศไทยมากมายที่มีรูปแบบแตกต่างออกไป คือ นักเรียนเป็นคนลงมือปฏิบัติเอง (Hands-on) หรือมีการจัดโต๊ะแตกต่างออกไปมีการนั่งเป็นกลุ่มมากขึ้น เป็นต้น
Maker Ed (Education) คืออะไร
Maker Education ประกอบด้วยไปวงกลมการสร้างการเรียนรู้ 3 วงซ้อนกัน ได้แก่
- Approach หมายถึง Hands on (การลงมือทำ), Leaner Choice and Voice (เสียงและการให้อิสระนักเรียนได้เลือก). Real World (โลกจริง), Skill Building (การสร้างทักษะ)
- Mindset หมายถึง Growth Mindset (ความคิดแบบเติบโต), Sense of agency (นักเรียนเป็นเจ้าของการเรียนรู้ด้วยตัวเอง), Creativity (ความคิดสร้างสรรค์) , Resilience (ความไม่ย่อท้อต่ออุปสรรค)
- Community หมายถึง Collaborative (การทำงานร่วมกับผู้อื่น), Opening sharing (เปิดรับการแลกเปลี่ยน), Community Learning (การเรียนรู้ร่วมกันเป็นชุมชนการเรียนรู้)
ทำไม Maker Ed จึงเหมาะสมกับยุค AI ?
เพราะ Maker Education ส่งเสริมให้นักเรียนกลายเป็น ‘นักสร้างสรรค์’ ด้วยตัวเอง ไม่ใช่แค่เป็นผู้รับเท่านั้นโดยในทฤษฎีการเรียนรู้แบบพีระมิดได้แสดงให้เห็นว่าหากผู้เรียนเรียนรู้ด้วยวิธีการ Maker Ed จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ในขั้นลึกซึ้ง (Deep Learning) เพราะการเรียนรู้ Maker Ed ได้ใช้วิธีการของการเรียนรู้แบบวิทยาศาสตร์ (Learning Sciences) เช่นเดียวกับในมุมมองของการสร้างพลเมืองโลกที่ดีขึ้น (Civic Respoinsibility)
Maker Education ตอบโจทย์ Top Skills of 2027 จาก World Economic Forum
งานวิจัยของ World Economics Forum กล่าวไว้ว่าทักษะที่ต้องการมากที่สุดในปี 2027 โดยเรียงตามลำดับดังนี้
- Analytical thinking
- Creative thinking
- Resilience, Flexibility and Agility
- Motivation and Self-awareness
- Curiosity ad Lifelong learning
- Technological literacy
- Dependability and attention to detail
- Empathy and active Listening
- Leadership and social influence
- Quality control
ซึ่งจะเห็นได้ว่า Maker Education ช่วยส่งเสริม 2 ทักษะในลำดับแรก
Creative confidence คืออะไร
มันอาจจะเป็นเรื่องยากสำหรับคุณครูที่จะทดลองวิธีการสอนแบบใหม่ เพราะเราคุ้นชินกับการสอนที่มีวิธีการหนึ่งเดียว หรือมีคำตอบเดียวเท่านั้นและนักเรียนก็ยังไม่คุ้นชินกับการคิดนอกกรอบเพราะต้องรอคำสั่งจากครูตลอดเวลา เพราะฉะนั้นวิธีการที่จะช่วยให้นักเรียนคิดนอกกรอบได้ คือ การให้โจทย์และหยุดให้คำตอบเมื่อนั้นการเรียนรู้ของนักเรียนจะเกิดขึ้น
ประโยชน์ของ Maker Education
- เป็นพื้นที่ให้นักเรียนได้ฝึกทักษะความคิดสร้างสรรค์
- เป็นพื้นที่ให้นักเรียนได้เลือกฝึกทักษะที่หลากหลาย เช่น การโค้ดดิ้ง (coding), ทักษะเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า (electronics), การเย็บต่างๆ (sewing)
- เป็นพื้นที่ส่งเสริมทักษะของความเป็นมนุษย์ เช่น การเห็นอกเห็นใจ (empathy), aesthetic (ความปราณีต), ethics (จริยธรรม)
บทความใกล้เคียง
Related Courses
การพัฒนาทักษะในอนาคตด้วย Makerspace
ในคอร์สนี้ จะเป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับการเตรียมพร้อมผู้เรียน เพื่อพัฒนาให้เกิดทักษะที่จำเป็นในอนาคต ผ่านการจัดการเรียนรู้แบบ Ma ...
Micro Learning เทคนิคการจัดการเรียนการสอน 1
คุณภาพของผู้เรียนนอกจากจะเกี่ยวข้องกับองค์ประกอบในตัวผู้เรียนเอง แล้วกระบวนการเรียนการสอนที่ครู จัดให้เป็นสิ่งสำคัญต่อผลสัม ...
การสอนคณิตศาสตร์ (3R)
คณิตศาสตร์จะไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไป แค่เรามีเทคนิคดีๆ มาเป็นตัวช่วยในการสอน คณิตศาสตร์ของเราก็จะเป็นเรื่องง่าย ไม่น่าเบื่ ...
เริ่มต้นทำ Visual Note อย่างง่ายใครๆ ก็ทำได้
หากคุณเป็นคนชอบวาดรูป ชอบการขีดเขียน หรือการจดบันทึก อยากลองทำ Visual Note แต่ไม่รู้จะสื่อสารออกมาอย่างไรดี คอร์สเ ...
เริ่มต้นทำ Visual Note อย่างง่ายใครๆ ก็ทำได้
ต้องใช้ 100 เหรียญ