รวมคำถามยอดฮิตเกี่ยวกับการทำวPA
นับถอยหลังอีกไม่กี่วันก็จะเข้าสู่การยื่นวPA เราว่าดูกันว่า คำถามยอดฮิตจากสรุปจากกิจกรรม Live “ร่วมเรียนรู้ พร้อมเข้าสู่วิทยฐานะระบบ PA” เมื่อวันที่ 5 กันยายน 2564 มีอะไรกันบ้าง
คำถามที่ 1 : ในกรณีที่ดำรงตำแหน่งครูผู้ช่วย จะต้องทำ PA ด้วยหรือไม่ ?
คำถามที่ 2 : กรณีที่ผู้ได้รับการบรรจุแต่งตั้งเป็นครูผู้ช่วยก่อน 5 ก.ค. 60 และได้ดำรงตำแหน่งครูตั้งแต่ 5 ก.ค. 60 ซึ่งมีคุณสมบัติตรบตามว 17/2552 แต่ยังไม่เคยขอมีวิทยฐานะชำนาญการในช่วงระยะเวลาเปลี่ยนผ่านตาม ว21/2560 จะสามารถยื่นขอตามว17/2552 ได้หรือไม่ ? ซึ่งเป็นระยะเวลาเปลี่ยนผ่านตาม ว9/2564
คำถามที่ 3 : ในกรณียื่นขอมี / เลื่อนวิทยฐานะในระบบ DPA แผนการจัดการเรียนรู้และคลิปการสอน จะต้องส่งทุกรอบปีงบประมาณหรือไม่ ?
คำถามที่ 4 : การขอมี หรือเลื่อนวิทยฐานะในช่วงระยะเวลาเปลี่ยนผ่าน ใครเป็นผู้ประเมินผลการพัฒนาฯ ตาม ว17/2552 และประเมินเมื่อใด ?
คำถามที่ 5 : สามารถนำวุฒิปริญญาโทเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ที่ได้ก่อนการบรรจุเป็นครู มาลดระยะเวลาขอเลื่อนวิทยฐานะเป็นชำนาญการพิเศษ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการของว 9/2564 ได้หรือไม่ ?
ขอขอบคุณข้อมูลจาก สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (ก.ค.ศ.) ค่ะ
บทความใกล้เคียง
Related Courses
เตรียมพร้อมกับวิทยฐานะใหม่
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่งวิทยฐานะครู (วPA) เพื่อการพัฒนาการศึกษาและความก้าวหน้าในวิชาชีพครู
เตรียมพร้อมกับวิทยฐานะใหม่
การประเมินเพื่อขอ เลื่อนวิทยฐานะใหม่ “ตำแหน่งครู”
เรียนรู้ ทำความเข้าใจภาพรวมของการประเมินเพื่อขอมี / เลื่อนวิทยฐานะใหม่ “ตำแหน่งครู” (วPA)
การประเมินเพื่อขอ เลื่อนวิทยฐานะใหม่ “ตำแหน่งครู”
การสอนคณิตศาสตร์แบบ Active Learning เพื่อวิทยฐานะ (PA)
การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning เพื่อพัฒนาเทคนิคการสอนคณิตศาสตร์ และเพื่อเป็นแนวทางในการประเมินวิทยฐานะ (PA)
การสอนคณิตศาสตร์แบบ Active Learning เพื่อวิทยฐานะ (PA)
เตรียมพร้อมก่อนทำคลิปประเมินวิทยฐานะ EP.1 วิธีการสอน
หลักสำคัญ ในการสอนที่มีประสิทธิภาพ 8 ข้อ ซึ่งจะใช้ในการประเมินคลิปการสอนของครู เป็นแนวทางใหม่ของการประเมินวิทยฐานะของครู