สร้างทักษะแห่งอนาคตด้วย MAKERSPACE
Maker Education คืออะไร
ในห้องเรียนทั่วไปไม่สามารถสร้างบรรยากาศที่จะช่วยให้นักเรียนสร้างนวัตกรรมอะไรขึ้นมาได้ ยกตัวอย่าง โรงรถของสตีฟ จอบส์ ที่ใช้เป็นที่ผลิตไอโฟนต่างๆ ซึ่งไม่ใช่ห้องเรียนนวัตกรรมไอโฟนเกิดขึ้นได้เพราะสตีฟ จอบส์ ใช้วิธีของการค้นคว้าหาความรู้ในการสร้างนวัตกรรมต่างๆ ขึ้นมา เพราะฉะนั้นห้องเรียนที่สร้างนวัตกรรมจะเป็นห้องเรียนที่กลายร่างจากห้องเรียน Lecture ที่ให้ความรู้อย่างเดียวหรือเด็กนั่งฟังอาจารย์ แต่เป็นห้องเรียนที่ให้นักเรียนได้ลงมือทำได้ทดลองใช้ ได้ทดลองคิดสิ่งต่างๆและสร้างความรู้เหล่านั้นด้วยตนเอง
Maker Movement หรือ Maker Culture คืออะไร
เรียกว่า “วัฒนธรรมทำเอง” หมายถึง ศักยภาพของมนุษย์ทุกคนในการสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ ด้วยตัวเองเลยกลายเป็น Culture ตัวอย่างเช่น ห้องเรียนที่จังหวัดภูเก็ตที่ให้นักเรียนได้ลงมือทำสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ ด้วยตนเองซึ่งในปัจจุบัน มีห้องเรียน 150 ห้องเรียน Makerspace ทั่วประเทศไทย โดยมีอุปกรณ์ต่างๆ สนับสนุนโรงเรียนเหล่านั้น
การเรียนในรูปแบบของ Education
- ใช้กระดาษลัง มาประกอบเป็นสิ่งที่สร้างสรรค์ขึ้นมา
- ไม่จำเป็นต้องใช้อุปกรณ์ที่หรูหราหรือมีราคาแพง
- นำวัสดุอุปกรณ์ใกล้ตัวเพื่อการเรียนรู้ เช่น กระป๋อง ลัง
Maker & DIY
ย่อมาจากคำว่า DIY หรือ Do It by Yourself หมายถึง ประดิษฐ์สิ่งต่างๆ ด้วยตัวเองซึ่งคนไทยมีศักยภาพในเรื่องการสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ ด้วยตัวเอง เช่น วัดพระแก้ว หรือเรือต่างๆ
ข้อสำคัญของ Maker มี 2 อย่าง
- Hands-on การลงมือทำ
- Sharing การแบ่งปันสิ่งที่ได้เรียนรู้กับคนอื่น เช่น การเขียน blog ต่างๆ หรือการจัด Maker Faire
จุดกำเนิดของ Maker Faire
เป็นการนำนวัตกรรมจากทั่วโลกมาโชว์กันโดยมีการจัดการงานที่มีชื่อว่างาน Bangkok Mini Maker Faire ต้องการให้ผู้ชมเข้ามาเป็น Maker มาสร้างวัฒนธรรมการแลกเปลี่ยนขึ้นมาและเป็นการรวบรวมงาน Maker มาจากหลายประเทศ เช่น ญี่ปุ่น เป็นต้น
Maker Jam
เป็นงาน Maker ที่มาจากคนไทย จะมีกิจกรรมมากมาย เช่น หุ่นยนต์ รถแข่งต่างๆ โดยสิ่งสำคัญของงานนี้ต้องการให้คนลงมือปฏิบัติ ลงมือสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ เพราะเชื่อว่าการลงมือปฏิบัติจะช่วยเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์และการแก้ปัญหาเพื่อพัฒนาศักยภาพของตัวเราเองและที่สำคัญคือ Life-Long Learning การเรียนรู้ตลอดชีวิตซึ่งเวลาเราทำอะไรผิดพลาดในห้องเรียนของ Maker เราสามารถเรียนรู้และเติบโตขึ้นมาเพื่อเป็นก้าวสำคัญให้เราก้าวข้ามข้อจำกัดของเราไปได้
Maker Education คืออะไร
ในห้องเรียนทั่วไปไม่สามารถสร้างบรรยากาศที่จะช่วยให้นักเรียนสร้างนวัตกรรมอะไรขึ้นมาได้ ยกตัวอย่างโรงรถของสตีฟ จอบส์ ที่ใช้เป็นที่ผลิตไอโฟนต่างๆ ซึ่งไม่ใช่ห้องเรียน นวัตกรรมไอโฟนเกิดขึ้นได้ เพราะสตีฟ จอบส์ ใช้วิธีของการค้นคว้าหาความรู้ในการสร้างนวัตกรรมต่างๆ ขึ้นมาเพราะฉะนั้นห้องเรียนที่สร้างนวัตกรรมจะเป็นห้องเรียนที่กลายร่างจากห้องเรียน Lecture ที่ให้ความรู้อย่างเดียวหรือเด็กนั่งฟังอาจารย์แต่เป็นห้องเรียนที่ให้นักเรียนได้ลงมือทำได้ทดลองใช้ ได้ทดลองคิดสิ่งต่างๆ และสร้างความรู้เหล่านั้นด้วยตนเอง
Maker Movement หรือ Maker Culture คืออะไร
เรียกว่า “วัฒนธรรมทำเอง” หมายถึง ศักยภาพของมนุษย์ทุกคนในการสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ ด้วยตัวเอง เลยกลายเป็น Culture ตัวอย่างเช่น ห้องเรียนที่จังหวัดภูเก็ต ที่ให้นักเรียนได้ลงมือทำสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ ด้วยตนเองซึ่งในปัจจุบัน มีห้องเรียน 150 ห้องเรียน Makerspace ทั่วประเทศไทย โดยมีอุปกรณ์ต่างๆ สนับสนุนโรงเรียนเหล่านั้น
- การเรียนในรูปแบบของ Education
- ใช้กระดาษลัง มาประกอบเป็นสิ่งที่สร้างสรรค์ขึ้นมา
- ไม่จำเป็นต้องใช้อุปกรณ์ที่หรูหรา หรือมีราคาแพง
- นำวัสดุอุปกรณ์ใกล้ตัวเพื่อการเรียนรู้ เช่น กระป๋อง ลัง
Maker & DIY
ย่อมาจากคำว่า DIY หรือ Do It by Yourself หมายถึง ประดิษฐ์สิ่งต่างๆ ด้วยตัวเองซึ่งคนไทยมีศักยภาพในเรื่องการสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ ด้วยตัวเอง เช่น วัดพระแก้วหรือเรือต่างๆ
ข้อสำคัญของ Maker มี 2 อย่าง
- Hands-on การลงมือทำ
- Sharing การแบ่งปันสิ่งที่ได้เรียนรู้กับคนอื่น เช่น การเขียน blog ต่างๆ หรือการจัด Maker Faire
จุดกำเนิดของ Maker Faire
เป็นการนำนวัตกรรมจากทั่วโลกมาโชว์กันโดยมีการจัดการงานที่มีชื่อว่างาน Bangkok Mini Maker Faire ต้องการให้ผู้ชมเข้ามาเป็น Maker มาสร้างวัฒนธรรมการแลกเปลี่ยนขึ้นมาและเป็นการรวบรวมงาน Maker มาจากหลายประเทศ เช่น ญี่ปุ่น เป็นต้น
Maker Jam
เป็นงาน Maker ที่มาจากคนไทยจะมีกิจกรรมมากมาย เช่น หุ่นยนต์ รถแข่งต่างๆ โดยสิ่งสำคัญของงานนี้ต้องการให้คนลงมือปฏิบัติ ลงมือสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ เพราะเชื่อว่าการลงมือปฏิบัติจะช่วยเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์และการแก้ปัญหาเพื่อพัฒนาศักยภาพของตัวเราเองและที่สำคัญคือ Life-Long Learning การเรียนรู้ตลอดชีวิตซึ่งเวลาเราทำอะไรผิดพลาดในห้องเรียนของ Maker เราสามารถเรียนรู้ และเติบโตขึ้นมาเพื่อเป็นก้าวสำคัญให้เราก้าวข้ามข้อจำกัดของเราไปได้
บทความใกล้เคียง
Related Courses
Micro Learning การดูแลสุขภาพใจ ป.1-3
การที่เด็กอารมณ์ดี มีความร่าเริงแจ่มใสจะมีผลต่อพัฒนาการในทุก ๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็น สมอง จิตใจ และร่างกาย แต่หากอารมณ์ไม่ ...
Micro Learning การดูแลสุขภาพใจ ป.4-6
เด็กระดับประถมศึกษาปีที่ 4-6 จะอยู่ในช่วงวัยที่เริ่มเรียนรู้จักพัฒนาตนเอง สนใจความรู้สึกตนเองและผู้อื่น เริ่มให้ความสนใจเพศตร ...
Micro Learning เทคนิคการจัดการเรียนการสอน 1
คุณภาพของผู้เรียนนอกจากจะเกี่ยวข้องกับองค์ประกอบในตัวผู้เรียนเอง แล้วกระบวนการเรียนการสอนที่ครู จัดให้เป็นสิ่งสำคัญต่อผลสัม ...
Micro Learning เทคนิคการดูแลสุขภาพกาย ป.4-6
การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายที่ดีจากภายในสู่ภายนอก ควรทำควบคู่ไปกับการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และพักผ่อนให้เพียงพอ